ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรุณรัตน์ คำแหงพล

เผยเเพร่เมื่อ 2261 เข้าชม

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรุณรัตน์ คำแหงพล

1. ประวัติการศึกษา

ที่ ปีที่สำเร็จการศึกษา คุณวุฒิ (สาขาวิชา) สถาบันการศึกษา
1 2559 ปร.ด. (ชีวเคมี) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
2 2553 วท.ม. (ชีวเคมี) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
3 2551 วท.บ. (เคมี) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

 

2. ผลงานทางวิชาการ

2.1 บทความวิจัย/บทความวิชาการ ระดับชาติ (พ.ศ. 2562-2567)

ลำดับ ผลงาน คุณภาพวารสาร
1 ปฐมวงศ์ เถายะบุตร, อรุณรัตน์ คําแหงพล และหรรษกร วรรธนะสาร. (2567). TCI 1
การพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาในสถานการณ์การแพร่ระบาดโควิด-19 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง งานและพลังงาน โดยการจัดการเรียนรู้แบบสตีมศึกษา. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร., 12(1), 90-104.
2 อนุชิต ศรีสุนาครัว, อรุณรัตน์ คําแหงพล และอนันต์ ปานศุภวัชร. (2566). TCI 1
การพัฒนาความฉลาดรู้ด้านวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง วัสดุ ในชีวิตประจําวัน โดยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นร่วมกับความรู้ในเนื้อหาผนวกวิธีการสอนและเทคโนโลยี. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม, 13(3), 295-309.
3 สุทธิพงษ์ มูลมี, หรรษกรวรรธนะสาร และอรุณรัตน์ คําแหงพล. (2566). TCI 1
การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4เรื่อง ดวงจันทร์และระบบสุริยะโดยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5ขั้น ร่วมกับสื่อสังคมออนไลน์. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม, 13(3), 324-338.
4 ประจักษ์ สนธิรักษ์, ถาดทอง ปานศุภวัชร และอรุณรัตน์ คำแหงพล. (2566). TCI 2
การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง การเคลื่อนที่แนวตรง โดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคแบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ร่วมกับผังมโนทัศน์. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 20(88), 10-18.
5 ธีรพงษ์ รัศมีพิพัฒน์, หรรษกร วรรธนะสาร, อรุณรัตน์ คำแหงพล และธราเทพ เตมีรักษ์. (2565). TCI 2
การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง แรงโน้มถ่วงของโลกและตัวกลางของแสง โดยการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาร่วมกับผังมโนทัศน์. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 16(3), 258-269.
6 พิชาภา ด้วงสงค์, ถาดทอง ปานศุภวัชร และอรุณรัตน์ คำแหงพล. (2565). TCI 2
การพัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่อง สารรอบตัว โดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับผังกราฟิก. วารสารครุศาสตร์, 19(2), 165-177.
7  ไก่ จันทาวัน, อรุณรัตน์ คําแหงพล และหรรษกร วรรธนะสาร. (2565). TCI 1
การพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง โดยการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาร่วมกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร. 10(6), 2595-2607.
8 กานดารัตน์ เจริญดี, อรุณรัตน์ คำแหงพล และอนันต์ ปานศุภวัชร. (2565). TCI 1
การพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5: การเปลี่ยนแปลงของสารโดยการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร. 10(1), 160-174.
9 เอกพร ธรรมยศ, อรุณรัตน์ คำแหงพล และถาดทอง ปานศุภวัชร. (2565).  TCI 1
การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การแยกสาร โดยการจัดการเรียนรู้แบบสตีมศึกษาร่วมกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร. 10(1), 142-159.
10 สุกัญญา วราพุฒ, อรุณรัตน์ คำแหงพล และถาดทอง ปานศุภวัชร. (2564). TCI 2
การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยอาหารและสารเสพติด ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยการจัดการเรียนรู้ แบบใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. วารสารวิชาการหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. 13(37), 119-129.
11 สิริยาพร พลเล็ก, อรุณรัตน์ คำแหงพล และกุลวดี สุวรรณไตรย์. (2564). TCI 1
การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต โดยการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาร่วมกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. วารสารพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิต. 15(1), 210-224.
12 มนัสนันท์ วงศ์กาฬสินธ์, อนันต์ ปานศุภวัชร และอรุณรัตน์ คำแหงพล. (2564). TCI 1
การเปรียบเทียบการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง ร่างกายของเรา โดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้สมองเป็นฐานร่วมกับผังมโนทัศน์ กับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 44(1), 34-49.
13 ปรียา โคตรสาลี, ถาดทอง ปานศุภวัชร และอรุณรัตน์ คำแหงพล. (2563). TCI 2
การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่องสารในชีวิตประจำวัน โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาร่วมกับผังกราฟิก. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด. 14(1), 196-209.
14 วัชรียา พรหมพันธ์, อรุณรัตน์ คำแหงพล และถาดทอง ปานศุภวัชร. (2563). TCI 1
การเปรียบเทียบทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง พอลิเมอร์ โดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนิค POE และการจัดการเรียนรู้แบบปกติ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม. 10(2), 107-116.
15 ศิริรักษ์ แก้วหานาม, อนันต์ ปานศุภวัชร และอรุณรัตน์ คำแหงพล. (2562). TCI 2
การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง เสียงกับการได้ยิน โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับผังมโนทัศน์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วารสารวิชาการหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. 11(30), 21-29.
16 กิติยา เกษลี, อนันต์ ปานศุภวัชร และอรุณรัตน์ คำแหงพล. (2562). TCI 2
การพัฒนาการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้การจัดการเรียนรู้ แบบ 4 MAT ร่วมกับการใช้ผังมโนทัศน์ เรื่อง ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์และสัตว์. วารสารวิชาการหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. 11(31), 71-80.
17 อรุณรัตน์ คำแหงพล, ถาดทอง ปานศุภวัชร, อนันต์ ปานศุภวัชร, พิทักษ์ วงษ์ชาลี และนิติธาร ชูทรัพย์. (2562). TCI 1
การพัฒนาการคิดวิเคราะห์ เรื่อง ทฤษฎีการเรียนรู้ โดยการจัดการเรียนรู้ แบบผังกราฟิกสำหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาการสอนวิทยาศาสตร์. วารสารศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 42(4), 89-102.

 

2.2 บทความวิจัย/บทความวิชาการ ระดับนานาชาติ (พ.ศ. 2562-2567, ค.ศ. 2019-2023)

ลำดับ ผลงาน คุณภาพวารสาร
1 Khamhaengpol, A., Nokaew, T., & Chuamchaitrakool, P. (2024). Scopus (Q1) Impact Factor 3.5
Development of STEAM Activity “Eco-Friendly Straw” based Science Learning Kit to Examine Students’ Basic Science Process Skills. Thinking skills and creativity, 53, 1-11.
2 Khamhaengpol, A., Phewphong, S., & Chuamchaitrakool, P. (2022). Scopus (Q2) Impact Factor 2.979
STEAM activity on biodiesel production: encouraging creative thinking and basic science process skills of high school students. Journal of Chemical Education, 99, 736-744.
3 Khamhaengpol, A., Sriprom, M., & Chuamchaitrakool, P. (2021). Scopus (Q1) Impact Factor 3.106
Development of STEAM activity on nanotechnology to determine basic science process skills and engineering design process for high school students. Thinking skills and creativity, 39, 1-7.

 

2.3 ผลงานประเภทการจดสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร

ลำดับ ผลงาน ประเภททรัพย์สินทางปัญญา
1 อรุณรัตน์ คำแหงพล, พรทิพย์ เชื่อมชัยตระกูล, ศราวุธ ศรีสวาส, มัลลิกา อนุญาหงษ์, พิมลพร ไชยสาส์น, ธิญาดา ก่ำจำปา และสหรัฐ ปัตตะเน. (2567). อนุสิทธิบัตร
ภาชนะใส่อาหารและกรรมวิธีการผลิต. อยู่ระหว่างการขอรับอนุสิทธิบัตร เลขที่คำขอ 2403002555 ยื่นคำขอวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2567.
2 อรุณรัตน์ คำแหงพล, พรทิพย์ เชื่อมชัยตระกูล และทัดดาว หน่อแก้ว. (2566). อนุสิทธิบัตร
สื่อการเรียนการสอนการผลิตหลอดดูดจากธรรมชาติ. อยู่ระหว่างการขอรับอนุสิทธิบัตร เลขที่คำขอ 2303001853 ยื่นคำขอวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2566.
3 อรุณรัตน์ คำแหงพล, พรทิพย์ เชื่อมชัยตระกูล, ทัดดาว หน่อแก้ว, ชดากรณ์ สมปัญญา และสมฤทัย ไฝดี. (2564). อนุสิทธิบัตร
หลอดดูดจากธรรมชาติและกรรมวิธีการผลิต. อยู่ระหว่างการขอรับอนุสิทธิบัตร เลขที่คำขอ 2103002958 ยื่นคำขอวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2564.

 

3. ประสบการณ์สอน

          ระดับปริญญาตรี

          รหัส                          วิชา

          24022303                 เคมีอินทรีย์สำหรับครูวิทยาศาสตร์

          21023305                 จริยธรรมสำหรับครูวิทยาศาสตร์

 

          ระดับปริญญาโท

          รหัส                          วิชา

          71021202                 การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

          71021203                 การศึกษาอิสระและสัมมนาการสอนวิทยาศาสตร์

          71021301                 วิทยาศาสตร์สำหรับครู

          71021502                 ภาษาอังกฤษสำหรับนักศึกษามหาบัณฑิต