ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ถาดทอง ปานศุภวัชร

เผยเเพร่เมื่อ 1917 เข้าชม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ถาดทอง ปานศุภวัชร

 

1. ประวัติการศึกษา

ที่ ปีที่สำเร็จการศึกษา คุณวุฒิ (สาขาวิชา) สถาบันการศึกษา
1 2552 ศษ.ด. (หลักสูตรและการสอน) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2 2530 กศ.ม. (การสอนวิทยาศาสตร์) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม
3 2518 กศ.บ. (ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม  

 

2. ผลงานทางวิชาการ

2.1 งานวิจัย

1 ถาดทอง ปานศุภวัชร. (2560). การเรียนรู้การให้บริการเรื่องความปลอดภัยในชีวิตสำหรับนักศึกษาวิชาชีพครู
ในจังหวัดสกลนคร. สกลนคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
.
2 ถาดทอง ปานศุภวัชร, อนันต์ ปานศุภวัชร, พิทักษ์ วงษ์ชาลี, นิติธาร ชูทรัพย์ และอรุณรัตน์ คำแหงพล. 
(2560). การพัฒนาการคิดวิเคราะห์เรื่องทฤษฎีการเรียนรู้ โดยการจัดการเรียนรู้แบบผังกราฟิกสำหรับ
นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาการสอนวิทยาศาสตร์. สกลนคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
.

 2.2 ตำรา/เอกสารทางวิชาการ –

 

2.3 บทความวิจัย/บทความวิชาการ

1 ยุทธนา คะสุดใจ, พิทักษ์ วงษ์ชาลี และถาดทอง ปานศุภวัชร. (2560). การจัดการเรียนรู้ตามแนว
คอนสตรัคติวิสต์ ร่วมกับเทคนิคผังกราฟิกเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. 
วารสารหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 9(26).
.
2 นกอร ศรีวิลัย, ถาดทอง ปานศุภวัชร และพรกมล สาฆ้อง. (2559). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ 
เรื่องพันธะเคมี ตามรูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD ร่วมกับผังกราฟิกสำหรับ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วารสารหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 8(22), 
57-68.
.
3 สกลรัตน์ สวัสดิ์มูล, ถาดทอง ปานศุภวัชร และสำราญ กำจัดภัย. (2559). “การพัฒนากิจกรรม
การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ตามแนวคิดการเรียนรู้อิงบริบทและการเรียนรู้จาการปฏิบัติ โดยเน้น
การฝึกปฏิบัติทางวิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 2,” วารสารบัณฑิตศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. 9(2), 
กรกฎาคม – ธันวาคม.
.
4 วิไลลักษณ์ โภคาพานิชย์, ถาดทอง ปานศุภวัชร และภัทรลภา ฐานวิเศษ. (2559). การพัฒนา
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง แรง การเคลื่อนที่และพลังงาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน. วารสารหลักสูตรและการสอน 
มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 8(22), 135-145.
.
5 เวิน ริทัศน์โส, ถาดทอง ปานศุภวัชร และสำราญ กำจัดภัย. (2559). การพัฒนาความสามารถในการ
คิดวิเคราะห์ โดยจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้นร่วมกับการใช้แผนผังมโนทัศน์ ตามหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วารสารหลักสูตรและการสอน 
มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 8(22), 147-159.
.
6 อนุพร ทิพย์สิงห์, ถาดทอง ปานศุภวัชร และอุปถัมภ์ โพธิกนิษฐ์. (2559). การพัฒนาการคิด
วิเคราะห์และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง ร่างกายของเรา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 
โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น ร่วมกับเทคนิคหมวกหกใบ 
ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วารสารหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 
8(22), 161-172.
.
7 วชิรดล คำศิริรักษ์, อุษา ปราบหงษ์ และถาดทอง ปานศุภวัชร. (2559). การพัฒนารูปแบบกิจกรรม
เสริมสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์สำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม, 
6(1), 97-105.
.
8 วาสนา ศิริจันทพันธ์, ถาดทอง ปานศุภวัชร และสำเร็จ คันธี. (2558). การพัฒนาชุดกิจกรรมการสอน
แบบสืบเสาะหาความรู้เพื่อเน้นการคิดวิเคราะห์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้การดำรงชีวิต
ของพืช กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. วารสารหลักสูตรและการสอน  
มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 7(18), 165-173.
.
9 ศิริพร เชื้อวังคำ และถาดทอง ปานศุภวัชร. (2558). การพัฒนาชุดกิจกรรมการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
เพื่อเน้นการคิดวิเคราะห์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ การดำรงชีวิตของพืช กลุ่มสาระ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วารสารหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 
7(18), 81-89.
.
10 ปัจรีย์ เครือทอง และถาดทอง ปานศุภวัชร. (2557). การพัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก 
หน่วยการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. 
วารสารหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 6(16), 31-41.
.
11 พิเชษฐ เทบำรุง, สำราญ กำจัดภัย และถาดทอง ปานศุภวัชร. (2557). “การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน
วิชาเคมี ตามแนวคิดการเรียนรู้โดยใช้บริบทและปัญหาเป็นฐาน สำหรับนักศึกษาหลักสูตรปริญญาบัณฑิต,” 
วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. 8(3), 178-183.
.
12 ศศิลักษณ์ ดาวังปา, ถาดทอง ปานศุภวัชร และวาโร เพ็งสวัสดิ์. (2557). การพัฒนาชุดการเรียนการสอน 
เรื่อง พลังงานความร้อน โดยใช้การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับผังกราฟิก กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วารสารหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 6(15), 189-203.
.
13 Thardtong P. (2014). Service Learning on Safety in Life of Pre-service Teachers in Sakon Nakhon 
Province. International Science, Social Sciences, Engineering and Energy Conference.
.

3. ประสบการณ์สอน

          ระดับปริญญาตรี  

          รหัส                          วิชา

          21023315                 พฤติกรรมการสอนวิทยาศาสตร์ระดับประถมศึกษา

          21024316                 พฤติกรรมการสอนวิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษา

          21024314                 กิจกรรมเสริมการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในโรงเรียน

          21023004                 การพัฒนาหลักสูตร

          21023006                 การจัดการเรียนรู้

          21023305                 จริยธรรมสำหรับครูวิทยาศาสตร์

          21012003                 พื้นฐานการศึกษาและการศึกษาแบบเรียนรวม

  

           ระดับปริญญาโท

          รหัส                          วิชา

          71021301                 วิทยาศาสตร์สำหรับครู

          71021202                 การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

          71021201                 การพัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตร์

          71021101                 ปรัชญาการศึกษาวิทยาศาสตร์และจริยธรรม

          71021303                 การประเมินผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

           74032304                แนวคิดและโครงการในพระราชดำริสำหรับการสอนชีววิทยาในท้องถิ่น

          71022403                 วิทยานิพนธ์ 3

 

           ระดับปริญญาเอก

           รหัส                          วิชา

          71027201                 ทฤษฎีและกระบวนการพัฒนาหลักสูตร

          71068204                 ปรัชญาและจริยธรรมสำหรับนักบริหารการศึกษา

          71065401                 บูรณาการการศึกษาและการจัดการเรียนรู้